สร้างจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิคส์
หรือ E-Newsletter
ในขอบข่ายของการศึกษาทั้งในและนอก ประเทศ(Higher-Education
E-Newsletters)
Blog นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 237218 การออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลทางการศึกษา ของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2558 จัดทำโดย นายณัฐสิทธิ์ วราวิกสิต 573050563-9
วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
E-newsletter คืออะไร?
E-newsletter คือ
จดหมายข่าวสารที่อยู่ในรูปของการส่งแบบออนไลน์
เป็นสื่อที่ได้รับความประสบความสำเร็จอย่างกว้างขวางสำหรับผู้ผลิต
ผู้เผยแพร่ และผู้อ่าน
ผู้เผยแพร่สามารถติดตามอัตราการเปิดอีเมล์ที่ส่งต่อและการคลิก
ดังนั้นจึงสามารถวัดความสนใจของผู้อ่านในข่าวนั้นๆนอกเหนือจากการส่งแล้ว
เรายังสามารถจัดการกับรายชื่อผู้รับได้โดยเพิ่มรายชื่อหรือคัดลอกตามต้องการ
เราสามารถรู้ได้ว่าอีเมล์ข่าวที่ส่งไปฉบับใดบ้างที่ไปไม่ถึงผู้รับโดยตรวจสอบจากฉบับที่เด้งกลับมา
ทั้งนี่การเลือกส่งข้อความไปยังกลุ่มผู้อ่านที่แตกต่างกันสามารถทำได้
หรือแม้แต่การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์พฤติกรรมหรือความชอบของผู้อ่านจากข้อมูลที่ผู้อ่านตอบรับมา
เมื่อมีองค์ประกอบทั้ง 3 อย่างนี้ E-newsletter ก้อจะเกิดขึ้น
วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
Poster : “The Book of Change”
“The Book of Change” การออกแบบภายใต้แนวคิดเกี่ยวกับการจัดอันดับศึกษาและงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยในสังคมโลก เมื่อเรามองความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณด้านการศึกษาต่ออันดับการศึกษาในสังคมโลกของประเทศไทยแล้ว พบว่า ทั้งสองสิ่งนี้ไม่สอดคล้องกันอย่างยิ่งในการพัฒนาการศึกษาไทย เพื่อให้ได้ตระหนักในระบบการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยต่อเด็กไทยรุ่นใหม่ที่จะเป็นอนาคตของชาติต่อไป
อ้างอิงจาก :
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
Ideas Update - 5
ภาพแรก : เป็นปัญหาการท้องในวัยเรียน
ดินสอจะมีลักษณะคล้ายกับที่ตรวจครรภ์
ทำให้รู้สึกถึงระบบการศึกษาในไทยที่ยังเห็นเรื่องเพศเป็นเรื่องน่าอาย
เด็กเข้าใจไม่ถูกต้อง นอกจากท้องแล้วยังเกิดโรคต่างๆ
ภาพสอง (ซ้ายบน) : เอ คือ นิพพาน
ภาพสาม (ขวาบน) : ด้านซ้ายของรูปเป็นแท็บเล็ตสภาพผ่านการใช้งานมามาก
แต่หนังสือกลับใหม่แทบไม่มีรอบขีดเขียน แสดงให้เห็นถึงยุคที่เปลี่ยนไป
การค้นคว้าของเด็กที่เปลี่ยนไปกระทบต่อการศึกษาเพราะเด็กจะไม่ได้อ่านความเป็นมาอย่างเข้าใจ
แต่สามารถใช้สมาทโฟนสืบค้นได้ทันที
ภาพสาม :
เป็นรูปเด็กเรียนแต่จะมีรอยฉีกเหมือนกระดาษว่าภายในเด็กมีพรสวรรค์อย่างอื่น
ควรส่งเสริมเด็กให้ถูกทาง นอกจากเรื่องเรียน
ภาพสี่ : ไม่เกี่ยวข้องครับ - -' [เป็นเรื่องอื่น]
ภาพห้า :
ค่านิยมของคนไทยที่ต้องเรียนสูง จะสื่อว่าตลาดมีความต้องการแรงงานหลายระดับ
ควรค้นหาตนเอง ดูศักยภาพของตนเอง ว่าควรศึกษาการทำงานหรือมุ่งเรียนสูง
ภาพหก :
ดินพอกหางหมูในยุคปัจจุบันทีไม่ได้มีแค่เรื่องการบ้านอย่างเดียว
ยังมีอีกหลายเรื่องในชีวิตของนักเรียนที่ต้องรับผิดชอบ ทำให้ยุ่งวุ่นวายกันไปหมด
ภาพเจ็ด : สื่อถึงสภาพสังคมในโรงเรียนของเด็กไทยปัจจุบันที่มีไอดอลเป็นตัวอย่าง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)